ใบงานที่ 2 3 4
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ร์เกมเพื่อความรู้ และ/หรือ ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกมหมากฮอส เกมการคานวณเลข ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจเก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วไปและนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้ป็นเกมที่แปลกใหม่และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกล่มต่าง ๆที่มา: http://kruoong.blogspot.com/2011/05/blog-post.html
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อความเจริญก้าวหน้าของสังคม ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านนี้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงเป็นเรื่องยากที่ประชาชนจะคอยติดตามความก้าวหน้าอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นการศึกษาเทคโนโลยี ของคอมพิวเตอร์ จึงต้องศึกษาหลักการและเนื้อหาพื้นฐานเป็นสำคัญ การศึกษาด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งจำเป็นเสมือนกับการศึกษาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ คอมพิวเตอร์ได้เปลี่ยนแปลง โลกของเราในด้านต่างๆ มากมาย ได้แก่
1. สังคมโดยส่วนใหญ่เปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมเป็นสังคมสารสนเทศ
2. การตัดสินใจในเรื่องต่างๆ มักขึ้นอยู่กับข้อมูลซึ่งได้จากระบบคอมพิวเตอร์
3. คอมพิวเตอร์กลายเป็นเครื่องมือที่สำคัญแทนเครื่องมืออื่นๆ ในอดีต เช่น เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องคิดเลข เป็นต้น
4. คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการออกแบบสถานการณ์หรือปัญหาที่ซับซ้อนต่างๆ
5. คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในงานติดต่อสื่อสารของโลกปัจจุบัน
การศึกษาด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีขึ้น เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในวิทยาการคอมพิวเตอร์ และมีความสามารถในการพัฒนาโปรแกรมได้ การจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์จะเป็นสิ่งที่ทำให้ผู้เรียน สามารถบรรลุเป้าหมายนี้ได้อย่างสมบูรณ์ จุดมุ่งหมายที่สำคัญประการหนึ่งของการเรียน
การสอน คอมพิวเตอร์ ในโรงเรียน คือ การที่ผู้เรียนได้มีโอกาสนำความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ด้วยตนเอง ซึ่งวิธีการที่มีประสิทธิภาพมากวิธีหนึ่งคือการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นการใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่นๆ ในการศึกษา ทดลอง แก้ปัญหาต่างๆ เพื่อนำผลงานที่ได้มาประยุกต์ใช้งานจริง หรือเพื่อใช้ช่วยสร้างสื่อเสริมการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โครงงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ พร้อมทั้งเครื่องมือต่างๆในการแก้ปัญหา รวมทั้งการพัฒนาเจตคติในการสร้างผลงาน
โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ผู้เรียนสามารถศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ ซึ่งอาจเป็นปัญหาที่ต้องใช้ความรู้ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์มาผสมผสานกัน ซึ่งบางโครงงานอาจต้องใช้ความรู้อื่นๆ มาร่วมด้วย โดยผู้เรียนจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรมหรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน โครงงานบางเรื่องอาจต้องการวัสดุอุปกรณ์นอกเหนือจากที่มีอยู่ ซึ่งผู้เรียนจะต้องพัฒนาขึ้น หรือดัดแปลงเพื่อให้ใช้งานได้ตรงกับความต้องการ โดยในการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์จะอยู่ภายใต้การดูแลและให้คำปรึกษาของผู้สอน และผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่างๆ
การทำโครงงานและการจัดงานแสดงโครงงานคอมพิวเตอร์จะมีคุณค่าต่อการฝึกฝนให้ผู้เรียนมีความรู้ ความชำนาญ และมีทักษะในการนำระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ด้วยตนเองดังที่ได้กล่าวมาแล้ว และยังมีคุณค่าอื่นๆ อีกดังต่อไปนี้
· -เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง
· -เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่ผู้เรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการเรียนในห้องตามปกติ
· -ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน
· - กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความสนใจในการศึกษาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และมีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้
· - ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้เวลาให้เป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์
· -สร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนสนใจคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น
· -สร้างสำนึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
1. ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) เป็นโครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวนและคาถามคาตอบไว้พร้อมผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรียน ตัวอย่าง เช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
2. 2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเรื่องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็นในรูปซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของเครื่องมือช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งานซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้งานในงานพิมพ์ต่าง ๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไปได้โดยง่าย ซึ่งรูปที่ได้สามารถนาไปใช้งานต่าง ๆ ได้มากมาย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยในการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้สาหรับช่วยในการออกแบบสิ่งของต่าง ๆ เช่นโปรแกรมประเภท 3D3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี (Theory Experiment) เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาองการทดลองของสาขาต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษา แล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรือคาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการจาลองทฤษฎีด้วยคอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้เรื่องนั้น ๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่องการไหลของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะสร้างใหม่หรือปรับปรุงดัดแปลง
3. ของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อนแล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจใช้วิธีทางวิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development) เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ และ/หรือ ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกมหมากฮอส เกมการคานวณเลข ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจเก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วไปและนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้ป็นเกมที่แปลกใหม่และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกล่มต่าง ๆที่มา: http://kruoong.blogspot.com/2011/05/blog-post.html
บงานที่ 4 เรื่องโครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
1. โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา” โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้ คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียนซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อมผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยจักรวาล ตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการชากิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และสถานที่สาคัญของประเทศไทย เป็นต้นตัวอย่างโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาเป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษาเช่น โครงงานเกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์ หรือการพัฒนาบนเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
1.โครงงานบทเรียน เรื่อง โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้ วิชา คอมพิวเตอร์
หลักการและเหตุผล
การเรียนการสอนในปัจจุบันนี้ต้องอาศัยเทคโนโลยีมาช่วยในการจัดการเรียน การสอน เนื่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทกับชีวิตของมนุษย์มากขึ้นโดย เฉพาะระบบอินเทอร์เน็ตที่มีข้อมูลต่างๆ มากมายเปรียบเสมือนห้องสมุดโลกที่สามารถเข้าไปศึกษาหาความรู้ในวิชาต่างๆ ได้ทั่วโลก ซึ่งถ้าหากว่าอาจารย์ผู้สอนและนักเรียนมีความรู้ ความสามารถ เล็งเห็นถึงประโยชน์และความสำคัญของการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างถูกต้องแล้ว การเรียนการสอนที่นำข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมาประกอบ ก็สามารถช่วยทำให้อาจารย์ผู้สอนและนักเรียนมีโลกทัศน์ที่กว้างไกล มีข้อมูลที่จะนำมาใช้ในการเรียนการสอนเพิ่มขึ้น
บริษัท ทร ู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) และกรุงเทพมหานคร ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการพัฒนาอาจารย์ผู้สอนและนักเรียนให้มีการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะการใช้อินเทอร์เน็ต จึงได้จัดทำโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมแห่งการ เรียนรู้ เพื่อให้อาจารย์และนักเรียนได้เห็นความสำคัญและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตอย่างแท้จริง
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อให้อาจารย์ - นักเรียนโรงเรียนในสังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานครได้มองเห็นความสำคัญ ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ ตลอดจนเป็นการเปิดโลกทัศน์แก่นักเรียน
๒. เพื่อให้อาจารย์ - นักเรียนโรงเรียนในสังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร มีทักษะในการใช้อินเทอร์เน็ตและนำประโยชน์ไปใช้เพื่อการเรียนการสอนได้
๓. เพื่อให้อาจารย์และนักเรียนโรงเรียนในสังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานครได้ มีฐานข้อมูลความรู้ทางอินเทอร์เน็ตในเบื้องต้น
วิธีการดำเนินงาน
๑. รับสมัครโรงเรียนเพื่อเข้าร่วมโครงการ ซึ่งเป็นโรงเรียนที่มีพื้นที่ในการให้บริการของเทเลคอมเอเซีย
๒. สำรวจและติดตั้งเลขหมายโทรศัพท์พร้อมระะบบอินเทอร์เน็ต
๓. มอบคอมพิวเตอร์พร้อมอุปกรณ์ให้กับโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ๔. จัดอบรมอินเทอร์เน็ตเบื้องต้นแก่ผู้บริหารโรงเรียน อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ และนักเรียนแกนนำ
๕. จัดสัมมนา การศึกษาดูงาน การใช้ไอซีที (ICT : Information Communication & Technology ) เพื่อการเรียนการสอนสำหรับผู้บริหารโรงเรียน
๖. จัดอบรมการเขียนโฮมเพจสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ๗.สนับสนุนและส่งเสริมให้โรงเรียนจัดตั้งชมรมห้องเรียนไอซีทีในโรงเรียนและมีแผนกิจกรรมรองรับตลอดปีการศึกษา๘. สนับสนุนและส่งเสริมในการจัดตั้งชมรมครูไอซีที๙.จัดหาและเสริมสร้างเครือข่ายด้านไอซีทีเพื่อให้มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้ของนักเรียน๑๐. จัดทำเว็บไซต์โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นแหล่งรวบวมความรู้ข้อมูล ข่าวสารต่างๆ สำหรับผู้บริหารด้านการศึกษา ผู้บริหารโรงเรียน ครู นักเรียน ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งประกอบด้วย
- E - Directory สำหรับการค้นหาข้อมูจากเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาการเรียนการสอน ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อเพิ่มพูนภูมิปัญญา และการเรียนรู้ตลอดเวลา - E - classroom ห้องเรียน Online เพื่อสนับสนุนครู นักเรียนของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อการเรียนรู้ ร่วมกัน - E - Learning แหล่งความรู้เสริมเพื่อครูนักเรียนทบทวนบทเรียน การประชุม บรรยาย สัมมนา อภิปราย เกี่ยวกับการเรียนการสอน และเสริมสร้างทักษะด้วยเทคโนโลยี VDO Streaming - E - Profile เพื่อการบริหารจัดการให้โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครมีประสิทธิภาพ E - Profile จะเป็นแหล่งรวมข้อมูลโรงเรียน ผู้บริหาร ครู นักเรียน และแหล่งผลงานการเรียนรู้ต่างๆ
ลักษณะของโครงการ
เป็นโครงการที่ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวด ๔ ว่าด้วยแนวการจัดการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และหมวด ๙ ว่าด้วยเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ผู้รับผิดชอบโครงการ
บริษัททรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) และสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานครงบประมาณดำเนินการ
บริษัททรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
เว็บไซต์นี้จัดทำขั้นโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นแหล่งรวบวมความรูข้อมูล ข่าวสารต่างๆ สำหรับผู้บริหารด้านการศึกษา ผู้บริหารโรงเรียน ครู นักเรียน ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ภายใต้โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้ โดยความร่วมมือระหว่าง กรุงเทพมหานคร และบริษัทเทเลคอมเอเซีย คอร์ปอเรชั่น จำกัด(มหาชน)ด้วยจุดมุ่งหมายให้ผู้บริหาร ครู นักเรียน ตลอดจนผู้ปกครองสามารถใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษาค้นคว้าหา ข้อมูล ตลอดจนการบริหารจัดการในโรงเรียน
2.โครงงานบทเรียนวิชาภาษาไทยเรื่องสำรวจรวบรวมคำที่มักเขียนผิด วิชาภาษาไทย
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
การเขียนคำภาษาไทยให้ถูกต้องตรงตามแบบแผนนั้น นับเป็นสิ่งที่ต้องให้ความสำคัญอย่างยิ่ง การเขียนคำภาษาไทยได้ถูกต้องเป็นการแสดงถึงความเข้าใจ และให้ความสำคัญอย่างลึกซึ้งกับภาษาซึ่งเป็นมรดกล้ำค่าของไทยแต่โบราณมา ทว่าในปัจจุบัน การเขียนภาษาไทยเป็นไปอย่างกว้างขวางทั่วถึง อีกทั้งภาษาไทยเป็นภาษาที่งดงามซับซ้อน มีตัวพยัญชนะถึง 44 ตัว มีคำพ้องรูป พ้องเสียงมากมาย จึงทำให้เกิดความสับสน ในการสะกดคำบางคำ นานวันเข้าจึงมีคำที่มักเขียนผิดมากมาย ผู้จัดทำเห็นความจำเป็นที่ควรจะรวบรวมคำที่มักเข่ยนผิดในภาษาไทย ซึ่งมักจะเป็นคำที่คุ้นเคยในการฟังและพูด แต่มักไม่ค่อยเขียน เมื่อต้องเขียนจึงเขียนผิด การรวบรวมคำที่มักเขียนผิด พร้อมทั้งค้นหาความหมายนั้นได้จัดเรียงลำดับตัวอักษรเพื่อให้ง่ายต่อการ ศึกษา และเกิดประโยชน์มากที่สุด
วัตถุประสงค์
1. เพื่อรวบรวมคำที่มักเขียนผิดในภาษาไทย ค้นคว้าแก้ไขให้ถูกต้องแล้วเรียบเรียงใหม่ตามลำดับตัวอักษรตั้งแต่ ก-ฮ
2. เพื่อค้นหาความหมายของคำที่ได้แก้ไขให้ถูกต้องแล้วนั้นมาแสดงไว้ให้ง่ายต่อการค้นคว้า
3. เพื่อให้การเขียนคำในภาษาไทยเป็นไปอย่างถูกต้องตามแบบพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ซึ่งเป็นมาตรฐานในการเขียนคำภาษาไทย
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
รวบรวมคำที่มักเขียนผิด เรียบเรียงใหม่ตามลำดับตัวอักษรและค้นหาความหมายของคำนั้น ๆ ตามลำดับตัวอักษร ก-ฮ
วิธีการดำเนินการ
1. ศึกษาจากหนังสือรวบรวมคำที่มักเขียนผิด อ่านอย่างไรและเขียนอย่างไร ของราชบัณฑิตยสถาน (แก้ไขเพิ่มเติม) ซึ่งได้รวบรวมไว้เบื้องต้นแล้วส่วนหนึ่ง
2. รวบรวมคำที่เป็นศัพท์ยากจากหนังสือเรียนภาษาไทย ท 503 ชุดวรรณสารวิจักษณ์ เล่ม 3
3. ค้นหาความหมายจากพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 พร้อมกับเรียบเรียงตามลำดับตัวอักษร
4. นำเสนอในรูปแบบตาราง
3.โครงงานบทเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสำคัญของคณิตศาสตร์
ตัวอย่างโครงงานคณิตศาสตร์
โครงงาน คือ งานวิจัยเล็ก ๆ ของนักเรียน เป็นการแก้ปัญหาหรือข้อสงสัยของนักเรียน โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเจตคติทางวิทยาศาสตร์หากเนื้อหาสาระหรือข้อสงสัยตรงตาม กลุ่มสาระ ใดก็จัด เป็นโครงงานตามกลุ่มสาระนั้น
จุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
เพื่อให้การทำโครงงานคณิตศาสตร์บรรลุตามจุดมุ่งหมายในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในโรงเรียน ในการจัดทำโครงงานคณิตศาสตร์นั้นจะต้องมีจุดมุ่งหมาย ที่แน่นอนและชัดเจน ซึ่งมีจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์พอสรุปได้ดังนี้
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความรัก ความสนใจและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
2. เพื่อพัฒนาความสามารถของนักเรียนในการใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
เพื่อแก้ปัญหา
3. เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน หรือออกแบบสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ได้ โดยตระหนักถึงคุณค่าและประโยชน์ของวิชาคณิตศาสตร์
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความรัก ความสนใจและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
2. เพื่อพัฒนาความสามารถของนักเรียนในการใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
เพื่อแก้ปัญหา
3. เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน หรือออกแบบสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ได้ โดยตระหนักถึงคุณค่าและประโยชน์ของวิชาคณิตศาสตร์
4. เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
5. เพื่อให้นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
6. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงออก พร้อมทั้งได้มีโอกาสเผยแพร่ผลงานของตนเอง
7. เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบและสามารถร่วมกับผู้อื่นได้
8. เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าหรือวิจัยทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่มีความสนใจและมีความสามารถทางคณิตศาสตร์ โดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์
5. เพื่อให้นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
6. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงออก พร้อมทั้งได้มีโอกาสเผยแพร่ผลงานของตนเอง
7. เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบและสามารถร่วมกับผู้อื่นได้
8. เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าหรือวิจัยทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่มีความสนใจและมีความสามารถทางคณิตศาสตร์ โดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์
ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
1. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภททดลอง เป็นการศึกษาหาคำตอบของปัญหาใดปัญหาหนึ่งโดยการออกแบบทดลองและดำเนินการการทดลอง เพื่อหาคำตอบของปัญหาและเพื่อตรวจสอบ สมมติฐานที่ตั้งไว้ ซึ่งขั้นตอนในการทำงานประกอบด้วยการกำหนดปัญหา การตั้งสมมติฐาน การออกแบบการทดลอง ดำเนินการทดลอง การแปลผลและสรุปผลการทดลอง
โครงงานคณิตศาสตร์แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
1. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภททดลอง เป็นการศึกษาหาคำตอบของปัญหาใดปัญหาหนึ่งโดยการออกแบบทดลองและดำเนินการการทดลอง เพื่อหาคำตอบของปัญหาและเพื่อตรวจสอบ สมมติฐานที่ตั้งไว้ ซึ่งขั้นตอนในการทำงานประกอบด้วยการกำหนดปัญหา การตั้งสมมติฐาน การออกแบบการทดลอง ดำเนินการทดลอง การแปลผลและสรุปผลการทดลอง
2. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสำรวจ เป็นกิจกรรมการศึกษาและรวบรวมข้อมูล จากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความรู้ที่มีอยู่หรือเป็นอยู่ ในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยใช้วิธีการสำรวจและรวบรวมข้อมูล และนำข้อมูลเหล่านั้น มาจัดกระทำแล้วนำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
3. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทการพัฒนาหรือการประดิษฐ์ เป็นการประดิษฐ์สิ่งใหม่ ที่ยังไม่เคยมีมาก่อนหรือการปรับปรุงอุปกรณ์หรือสิ่งประดิษฐ์ที่มีอยู่แล้ว ให้ใช้งานได้ดีกว่าเดิม หรือเป็นการเสนอการปรับสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาใดปัญหา หนึ่ง
3. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทการพัฒนาหรือการประดิษฐ์ เป็นการประดิษฐ์สิ่งใหม่ ที่ยังไม่เคยมีมาก่อนหรือการปรับปรุงอุปกรณ์หรือสิ่งประดิษฐ์ที่มีอยู่แล้ว ให้ใช้งานได้ดีกว่าเดิม หรือเป็นการเสนอการปรับสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาใดปัญหา หนึ่ง
4. โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎีหรือการอธิบาย เป็นโครงงานที่ผู้ทำต้องเสนอ แนวคิดใหม่ ๆ ในการอธิบายเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างมีเหตุผล มีหลักการทางคณิตศาสตร์ หรือมีทฤษฎีมาสนับสนุน หรือเป็นการอธิบายปรากฏการณ์เก่าในแนวใหม่ อาจเสนอในรูปคำอธิบาย สูตร หรือ สมการ โดยมีข้อมูลหรือทฤษฎีสนับสนุน
4.โครงงานบทเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง การสำรวจต่างๆ โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์ หมายถึง การศึกษาค้นคว้าความรู้ด้วยตนเอง โดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์และทักษะทางวิทยาศาสตร์ภายใต้การแนะนำ ปรึกษา ดูแลของครูหรือผู้เชี่ยวชาญในเรื่อง นั้น ๆ
ประเภทโครงงานวิทยาศาสตร์
1. โครงงานประเภทสำรวจ หมายถึง การสำรวจข้อมูลต่าง ๆ ที่เกิดจากความอยากรู้อยากเห็น เพื่อนำมาประกอบการศึกษาหรือการจำแนกเป็นหมวดหมู่ ทั้งนี้ไม่ต้องคำนึงถึงตัวแปรต่าง ๆ การเก็บข้อมูลโดยการออกไปสำรวจนอกห้องปฏิบัติการหรือที่เรียกว่า สำรวจภาคสนามหรือบางครั้งอาจจะนำส่วนต่าง ๆ นั้นมาศึกษาในห้องปฏิบัติการด้วยก็ได้
1. โครงงานประเภทสำรวจ หมายถึง การสำรวจข้อมูลต่าง ๆ ที่เกิดจากความอยากรู้อยากเห็น เพื่อนำมาประกอบการศึกษาหรือการจำแนกเป็นหมวดหมู่ ทั้งนี้ไม่ต้องคำนึงถึงตัวแปรต่าง ๆ การเก็บข้อมูลโดยการออกไปสำรวจนอกห้องปฏิบัติการหรือที่เรียกว่า สำรวจภาคสนามหรือบางครั้งอาจจะนำส่วนต่าง ๆ นั้นมาศึกษาในห้องปฏิบัติการด้วยก็ได้
ตัวอย่างโครงงานประเภทสำรวจตัวอย่างที่ 1 โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง การสำรวจจำนวนนักเรียนหญิงชั้น ป.5-6 ที่เป็นเหา การศึกษา โดยการออกไปสำรวจนักเรียนชั้น ป.5-6 ทั้งหมด มีจำนวนกี่คน ที่เป็นเหาใครที่เป็นเหา จำนวนนักเรียนกี่คนที่ไม่เป็นเหา
ตัวอย่างที่ 2 โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่องการสำรวจสัตว์เลี้ยงในชุมชน การศึกษาโดยการสำรวจสัตว์ชนิดต่าง ๆ มีกี่ชนิด และแต่ละชนิดมีจำนวนเท่าไร
ตัวอย่างที่ 3 โครงงานวิทยาศาตร์ เรื่อง การศึกษาตัวหนอนแมลงที่เป็นศรัตรูของข้าวการศึกษา โดยการออกไปสำรวจตัวหนอนของแมลงที่เป็นศรัตรูของข้าว ในบริเวณนาข้าว บริเวณหนึ่งแล้วศึกษาการวิธีทำลายต้นขาวของตัวหนอน
2. โครงงานประเภทการทดลอง หมายถึง โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลองเป็นโครงงานที่มีการออกแบบการทดลองเพื่อศึกษา ผลของตัวแปรอิสระที่มีผลต่อตัวแปรตาม โดยควบคุมตัวแปรอื่น ๆ ที่จะมีอิทธิพลต่อผลการทดลอง
ตัวอย่างโครงงานประเภทการทดลองตัวอย่างที่ 1 โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง มะขาวเปียก ตะไคร้ ฆ่าเห็บ เหา การศึกษา โดยการทดลองศึกษาผลของนำมะขามเปียก นำตะไคร้ ที่มีผลต่อการฆ่าเห็บ เหา
ตัวอย่างที่ 2 โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องสมุนไพรไล่ยุง การศึกษา โดยการทดสอบนำพืชสมุนไพรชนิดต่าง ๆ ที่ต้องการศึกษา มาทำยาไล่ยุง
3. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ เป็นโครงงานที่ประยุกต์หลักการหรือทฤษฎีต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ มาประดิษฐ์เป็นเครื่องมือเครื่องใช้หรืออุปกรณ์ที่เป็นประโยชน์ในการใช้สอย อาจคิดประดิษฐ์ของใหม่ ๆ หรือปรับปรุงดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
ตัวอย่างโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์
ตัวอย่างที่ 1 โครงงานวิทยาศาสตร์ กังหันลม การศึกษา โดยการประดิษฐ์กังหันลมจากลูกปิงปองนำมาทดลองศึกษาการหมุนของกังหันที่มีความยาวแขนต่างกัน
ตัวอย่างที่ 1 โครงงานวิทยาศาสตร์ กังหันลม การศึกษา โดยการประดิษฐ์กังหันลมจากลูกปิงปองนำมาทดลองศึกษาการหมุนของกังหันที่มีความยาวแขนต่างกัน
ตัวอย่างที่ 2 โครงการวิทยาศาสตร์เรื่อง ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์การศึกษา โดยการประดิษฐ์ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์อย่างง่ายจากวัสดุในท้องถิ่น แล้วนำมาทดลองหาประสิทธิภาพของตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์
4. โครงงานประเภททฤษฏี เป็นโครงงานที่เสนอทฤษฏี หลักการใหม่ ตามแนวคิดของตนเอง หรือการอธิบายแนวคิดใหม่ ๆ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตรสมการ ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างมีเหตุผล
ตัวอย่างโครงงานประเภททฤษฏีตัวอย่างที่ 1 โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องทฤษฎีโลกกลมโลกแบน การศึกษา โดยการทดลองศึกษาโดยอาศัยทฤษฎีเดิมและนำเสนอแนวคิดใหม่ของตนเองโดยยกเหตุผล หรือพิสูจน์แนวความคิดของตนเองว่าน่าเชื่อถือกว่า
ลำดับขั้นตอนการทำโครงงาน
1. สำรวจและตัดสินใจเลือกเรื่องที่จะโครงงาน
2. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะทำจากเอกสารและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
3. วางแผกนการทดลอง การใช้วัสดุอุปกรณ์และระยะเวลาในการดำเนินงาน
4. เขียนเค้าโครงของโครงงานวิทยาศาสตร์
5. ลงมือศึกษาทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล
6. เขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์
7. เสนอผลงานของโครงงานวิทยาศาสตร์
1. สำรวจและตัดสินใจเลือกเรื่องที่จะโครงงาน
2. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะทำจากเอกสารและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
3. วางแผกนการทดลอง การใช้วัสดุอุปกรณ์และระยะเวลาในการดำเนินงาน
4. เขียนเค้าโครงของโครงงานวิทยาศาสตร์
5. ลงมือศึกษาทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล
6. เขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์
7. เสนอผลงานของโครงงานวิทยาศาสตร์
เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาการเรียนการสอน ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อเพิ่มพูนภูมิปัญญา และการเรียนรู้ตลอดเวลา - E - classroom ห้องเรียน Online เพื่อสนับสนุนครู นักเรียนของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อการเรียนรู้ ร่วมกัน - E - Learning แหล่งความรู้เสริมเพื่อครูนักเรียนทบทวนบทเรียน การประชุม บรรยาย สัมมนา อภิปราย เกี่ยวกับการเรียนการสอน และเสริมสร้างทักษะด้วยเทคโนโลยี VDO Streaming - E - Profile เพื่อการบริหารจัดการให้โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครมีประสิทธิภาพ E - Profile จะเป็นแหล่งรวมข้อมูลโรงเรียน ผู้บริหาร ครู นักเรียน และแหล่งผลงานการเรียนรู้ต่างๆ
ลักษณะของโครงการ
เป็นโครงการที่ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวด ๔ ว่าด้วยแนวการจัดการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และหมวด ๙ ว่าด้วยเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ผู้รับผิดชอบโครงการ
บริษัททรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) และสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานครงบประมาณดำเนินการ
บริษัททรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) และสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานครงบประมาณดำเนินการ
บริษัททรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
เว็บไซต์นี้จัดทำขั้นโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นแหล่งรวบวมความรูข้อมูล ข่าวสารต่างๆ สำหรับผู้บริหารด้านการศึกษา ผู้บริหารโรงเรียน ครู นักเรียน ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ภายใต้โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้ โดยความร่วมมือระหว่าง กรุงเทพมหานคร และบริษัทเทเลคอมเอเซีย คอร์ปอเรชั่น จำกัด(มหาชน)ด้วยจุดมุ่งหมายให้ผู้บริหาร ครู นักเรียน ตลอดจนผู้ปกครองสามารถใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษาค้นคว้าหา ข้อมูล ตลอดจนการบริหารจัดการในโรงเรียน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น